Asst. Prof. Dr.Wivitchuta Dechruksa

ผศ. ดร.วิวิชชุตา เดชรักษา

Asst. Prof. Dr.Wivitchuta Dechruksa

CONTACT

207271

EDUCATION

DOCTOR DEGREE

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2556)

MASTER DEGREE

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2550)

BACHELOR DEGREE

วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยศิลปากร (2545)

EXPERTISE

- Malacology and Medical Malacology
- Taxonomy and systematics of gastropods.
- Phylogenetic analysis of limnic snails (Thiaridae) using morphological and molecular data
- Revision, systematics and zoogeography of snail genus Melanoides (M. tuberculata and M. jugicostis) in Thailand.

RESEARCH

- ปรสิตวิทยาในคนและสัตว์
- ความหลากหลายทางชีวภาพและถิ่นการกระจายพันธุ์ของหอยที่เป็นโฮสต์กึ่งกลางที่ก่อให้เกิดโรคพยาธิใบไม้ในบริเวณแถบเขตร้อน
- การจัดอนุกรมวิธานและระบบกายวิภาคของหอย

JOURNAL PUBLICATION

ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
1. วิวิชชุตา เดชรักษา. (2563). โครงการวิจัย เรื่อง การจำแนกตัวอ่อนพยาธิใบไม้ระยะเซอร์คาเรียในหอยฝาเดียวด้วยลักษณะสัณฐานวิทยาและเทคนิคทางชีวโมเลกุล ในบริเวณอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม. 84 หน้า.
2.ดวงเดือน ไกรลาศ, สุลักษณ์ นามโชติ, และวิวิชชุตา เดชรักษา. (2561). ชุดโครงการวิจัย เรื่อง อนุกรมวิธานและการแพร่กระจายของหอยวงศ์ Thiaridae: สกุล Tarebia H.&A. Adams, 1854, Sermyla H.&A. Adams, 1854 และ Neoradina Brandt, 1974 เป้าหมายเพื่อการตรวจทานชนิดพันธุ์ของประเทศไทยโดยเทคนิคทางชีวโมเลกุล. 159 หน้า.
3.วิวิชชุตา เดชรักษา, สุลักษณ์ นามโชติ, และณัฐพร อยู่เต็มสุข. (2561). โครงการวิจัย เรื่อง วิวัฒนาการสายพันธุ์ของหอยน้ำจืดสกุล Neoradina Brandt, 1974 (Gastropoda: Thiaridae) ในประเทศไทย. 47 หน้า.
4.วิวิชชุตา เดชรักษา, สุลักษณ์ นามโชติ, และณัฐพร อยู่เต็มสุข. (2560). ความหลากหลายชนิดพันธุ์และการติดเชื้อพยาธิใบไม้ของหอยน้ำจืดสกุล Clea Adams, 1855 ในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. 53 หน้า.
5.ดวงเดือน ไกรลาศ, สุลักษณ์ นามโชติ, และวิวิชชุตา เดชรักษา. (2559). ชุดโครงการวิจัย เรื่อง อนุกรมวิธานและการแพร่กระจายของหอยวงศ์ Thiaridae: ให้ความสำคัญที่หอยสกุล Tarebia H.&A. Adams, 1854, Sermyla H.&A. Adams, 1854 และ Neoradina Brandt, 1974 เป้าหมายเพื่อการตรวจทานชนิดพันธุ์ของประเทศไทย. 250 หน้า.
6.วิวิชชุตา เดชรักษา, และสุลักษณ์ นามโชติ. (2559). โครงการวิจัย เรื่อง การตรวจทานหอยน้ำจืดสกุล Neoradina Brandt, 1974 (Gastropoda: Thiaridae) ในประเทศไทย. 59 หน้า.
7.ดวงเดือน ไกรลาศ, สุลักษณ์ นามโชติ, และวิวิชชุตา เดชรักษา. (2559). ชุดโครงการวิจัย เรื่อง อนุกรมวิธานและนิเวศวิทยาของหอยที่เป็นโฮสต์กึ่งกลางของพยาธิใบไม้วงศ์ Thiaridae และ Pachychilidae: ให้ความสำคัญที่หอยสกุล Thiara Röding, 1798, Melanoides Olivire, 1840 และ Brotia Adams, 1866 เป้าหมายเพื่อการตรวจทานชนิดพันธุ์ของประเทศไทย. 225 หน้า.
8.วิวิชชุตา เดชรักษา, สุพรรณญิกา เส็งสาย, นวลพรรณ วีระเวชสุกิจ, ศิริพร บุตร์นิล, ณัฐพร อยู่เต็มสุข, ลัดดาวัลย์ ปั้นเพ็ง, และปฏิมา อุ่นใจ. (2559). โครงการวิจัย เรื่อง อนุกรมวิธานเชิงโมเลกุล, การพัฒนาตัวอ่อน และการเป็นโฮสต์ของหนอนพยาธิ เพื่อจำแนกความซับซ้อนของหอยน้ำจืดสายพันธุ์ Melanoides jugicostis Hanley & Theobald, 1876 (Gastropoda: Cerithioidea: Thiaridae) ในประเทศไทย. 95 หน้า.
9.วิวิชชุตา เดชรักษา, ดวงเดือน ไกรลาศ, สุภัทรตา ศรีทองแท้ และศิริพร บุตร์นิล. (2558). โครงการวิจัย เรื่อง การกระจายพันธุ์และความสัมพันธ์กับถิ่นที่อยู่อาศัยของหอยน้ำกร่อยในบริเวณอ่าวไทย. 97 หน้า.

ผลงานวิจัยตีพิมพ์
1. Dechruksa, W., Glaubrecht, M., & Krailas, D. (2017). Natural trematode infections of freshwater snail Melanoides jugicostis Hanley & Theobald, 1876 (Family Thiaridae), the First intermediate host of animal and human parasites in Thailand. Silpakorn University Science and Technology Journal, 10(4), 9-16. (TCI กลุ่มที่ 1)
2. Yutemsuk, N., Krailas, D., Anancharoenkit, C., Phanpeng, L., & Dechruksa, W. (2017). Trematode infections of freshwater snails genus Clea A. Adams, 1855 in The Reservoir of Lower Northeast Thailand. In Proceedings of the Joint International Tropical Medicine Meeting 2017.
3. Phanpeng, L., Dechruksa, W., Krailas, D., Boonmekam, D., & Namchote, S. (2017). Cercarial infections, Stellantchasmus falcatus (Trematode: Heterophyidae) of snails Sermyla riqueti in Cholburi and Rayong Provinces, Thailand. In Proceedings of the 10th Silpakorn University Conference on Academic Research and Creative Arts: Integration of Art and Science (pp. 64-71).