ผศ. ดร.สุพรรณญิกา เส็งสาย (เนตรทัศน์)

ผศ. ดร.สุพรรณญิกา เส็งสาย (เนตรทัศน์)

Assist. Prof. Dr. Supanyika Sengsai (Nethasana)

ติดต่อ

207240, 207009
1308 ชั้น 3 อาคารวิทยาศาสตร์ 1

การศึกษา

ปริญญาเอก

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (พันธุศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2549)

ปริญญาโท

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พันธุศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2539)

ปริญญาตรี

วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2535)

สาขาที่เชี่ยวชาญ

- Genotoxicity assessment using plant cytogenetic systems
- Plant chromosome researches

ผลงานตีพิมพ์

1. มยุวา ยงทรัพย์อนันต์, จันทนา กาญจน์กมล, สุพรรณญิกา เส็งสาย, และมยุรี ภูมิไพบูลย์. (2561). ศึกษาสารหลั่งจากถุงไข่สุกรเพื่อส่งเสริมการเจริญพัฒนาของเซลล์ไข่และเซลล์บุผิวในจานเพาะเลี้ยงเพื่อช่วยทดแทนการใช้ฮอร์โมนและใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์บำรุงผิวนครปฐม. นครปฐม, งบประมาณแผ่นดิน สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร. 89 หน้า.
2. มยุวา ยงทรัพย์อนันต์, จันทนา กาญจน์กมล, สุพรรณญิกา เส็งสาย, อดิศรี เจริญพานิช และมยุรี ภูมิไพบูลย์. (2560). ผลของสารหลั่งในรังไข่สุกรต่อการส่งเสริมการเจริญพัฒนาของเซลล์เพาะเลี้ยงในห้องทดลอง เพื่อความเป็นไปได้ในการใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เสริมความงาม. นครปฐม, งบประมาณแผ่นดิน สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร. 81 หน้า.
3. มยุวา ยงทรัพย์อนันต์, โชคพิศิษฐ์ เทพสิทธา, จันทนา กาญจน์กมล, สุพรรณญิกา เส็งสาย, และมยุรี ภูมิไพบูลย์. (2559). ศึกษาโปรตีนและเปปไทด์ของสารหลั่งและเซลล์จากรังไข่สุกรเพื่อความเป็นไปได้ในการใช้เป็นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์เสริมความงาม. นครปฐม, สถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยศิลปากร. 81 หน้า.

ผลงานวิจัยตีพิมพ์
1. เพ็ญนภา การะเวก, โชคพิศิษฐ์ เทพสิทธา, สุพรรณญิกา เส็งสาย, และศรัณยพร มากทรัพย์. (2562). การวิเคราะห์สารฟลาโวนไกลโคไซด์ในสารสกัดจากใบไผ่ซางหม่น “นวลราชินี” ด้วยเทคนิค TLC และ HPLC. Veridian E-Journal สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 5, 84-94. (TCI กลุ่มที่ 2)
2. ดวงฤทัย ปราสาททอง, โชคพิศิษฐ์ เทพสิทธา, และสุพรรณญิกา เส็งสาย. (2562). การชักนำให้เกิดคัลลัสจากชิ้นส่วนปลายยอดในไผ่ซางหม่น “นวลราชินี” (Dendrocalamus sericeus Munro). Veridian E-Journal สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 6(4), 64-80. (TCI กลุ่มที่ 2)
3. ธิดารัตน์ ธัญญศรีรัตน์, สุพรรณญิกา เส็งสาย, และโชคพิศิษฐ์ เทพสิทธา. (2562). การเพิ่มจำนวนยอดจากกลุ่มยอดของไผ่ดำ [Phyllostachy nigra (Lodd. Ex. Lindl.) Munrol] ในหลอดทดลอง. Veridian E-Journal สาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี, 6(5), 19-32. (TCI กลุ่มที่ 2)
4. นันทิกา ดีล้อม, สุพรรณญิกา เส็งสาย, และโชคพิศิษฐ์ เทพสิทธา. (2562. “ผลของสารอินทรีย์ต่อการชักนำให้เกิดยอดทวีคูณในใบไผ่ปักกิ่ง (Dendrocalamus sp.). ใน Proceedings รวมบทความวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา, S303-S310 การนําเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ 48. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
5. ปวีณา อุยิง, สุพรรณญิกา เส็งสาย, กรกช ชั้นจิรกุล, อารีย์ ทองภักดี, นงนุช เอื้อวงศ์ (2559). การศึกษาความเป็นพิษต่อสารพันธุกรรมของสารเมทโธมิลด้วยวิธี Allium Test. Veridian E-Journal, Science and Technology Silpakorn University, 3(6)ม 2408-1248. (TCI กลุ่มที่ 2)
6. Srinark, C., Buranathanasin, N., Kerdkriangkrai, S., Sengsai, S., Gumlungpat, N., & Youngsabanat-Areekijseree, M. (2017). Characteristic of long-term primary cells culture of pOEC and pGC. In Proceedings of the 34th Annual Conference of The Microscopy Society of Thailand (MST 34), Bangkok, Thailand.
7. Tungkasen, H., Yoomak, S., Jaidee, S., Phetchrid, S., Sengsai, S., Charoenpanich, A., & Areekijseree, M. (2016). Characterizing the oocytes and protein patterns of small and medium porcine follicles. In Proceedings of the Burapha University International Conference 2016. Chonburi, Thailand. (Available online at www.buuconference.buu.ac.th)
8. Areekijseree, M., Pongsawat, W., Pumipaiboon, M., Thepsithar, C., Sengsai, S., Chuen-Im, T. (2015). Motphological interaction of porcine oocyte and cumulus cells study on in vitro oocyte maturation using electron microscopy. World Academy of Science, Engineering and Technology International Journal of Biological, Food, Veterinary, and Agricultural Engineering, 9(4), 342-345.
9. Muangphra, M., Sengsai, S., & Gooneratne, R. (2015). Earthworm biomarker responses on exposure to Commercial cypermethrin. Environmental Toxicology, 30(5), 597-606. (ISI)