ศาสตราจารย์ ดร.ดวงเดือน ไกรลาศ
Professor Dr. Duangduen Krailas
ติดต่อ
207267
kduang @gmail.com, krailas_d@su.ac.th, krailas_d@silpakorn.edu
การศึกษา
ปริญญาเอก
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยมหิดล (2539)
Diploma in Applied Parasitology and Entomology (D.A.P. & E.) SEAMEO-TROPMED,
Institute for Medical Research (IMR) Malaysia (2531)
Diploma in Applied Parasitology and Entomology (D.A.P. & E.) SEAMEO-TROPMED,
Institute for Medical Research (IMR) Malaysia (2531)
ปริญญาโท
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยาสภาวะแวดล้อม) มหาวิทยาลัยมหิดล (2529)
ปริญญาตรี
วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยรามคำแหง (2523)
สาขาที่เชี่ยวชาญ
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
แขนงวิชา ปรสิตวิทยา ( Parasitology )
สังขวิทยา ( Malacology )
: ศึกษาชีววิทยาของหอยน้ำจืด ซึ่งเป็นโฮสต์ตัวกลางของพยาธิใบไม้
: ความหลากหลายของชนิดพันธุ์และการกระจายของหอยน้ำจืด รวมถึงความสามารถใน
การที่หอยน้ำจืดชนิดนั้นๆเป็นโฮสต์ตัวกลางของพยาธิใบไม้
: การผลิตแอนติบอดีที่มีความจำเพาะต่อแอนติเจน ( Monoclonal antibodies )
ของพยาธิใบไม้
: การวิเคราะห์โปรตีนของแอนติเจนที่ได้จากพยาธิใบไม้
: การทดสอบหาแหล่งผลิตแอนติเจน บริเวณเนื้อเยื่อผิวของพยาธิใบไม้
แขนงวิชา ปรสิตวิทยา ( Parasitology )
สังขวิทยา ( Malacology )
: ศึกษาชีววิทยาของหอยน้ำจืด ซึ่งเป็นโฮสต์ตัวกลางของพยาธิใบไม้
: ความหลากหลายของชนิดพันธุ์และการกระจายของหอยน้ำจืด รวมถึงความสามารถใน
การที่หอยน้ำจืดชนิดนั้นๆเป็นโฮสต์ตัวกลางของพยาธิใบไม้
: การผลิตแอนติบอดีที่มีความจำเพาะต่อแอนติเจน ( Monoclonal antibodies )
ของพยาธิใบไม้
: การวิเคราะห์โปรตีนของแอนติเจนที่ได้จากพยาธิใบไม้
: การทดสอบหาแหล่งผลิตแอนติเจน บริเวณเนื้อเยื่อผิวของพยาธิใบไม้
งานวิจัย
-ปรสิตวิทยาในคนและสัตว์
-ความหลากหลายทางชีวภาพและถิ่นการกระจายพันธุ์ของหอยที่เป็นโฮสต์กึ่งกลางที่ก่อให้เกิดโรคพยาธิใบไม้ในบริเวณแถบเขตร้อน
-การจัดอนุกรมวิธานและระบบกายวิภาคของหอย
-ความหลากหลายทางชีวภาพและถิ่นการกระจายพันธุ์ของหอยที่เป็นโฮสต์กึ่งกลางที่ก่อให้เกิดโรคพยาธิใบไม้ในบริเวณแถบเขตร้อน
-การจัดอนุกรมวิธานและระบบกายวิภาคของหอย
ผลงานตีพิมพ์
ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
1. ดวงเดือน ไกรลาศ, สุลักษณ์ นามโชติ, และวิวิชชุตา เดชรักษา. (2561). ชุดโครงการวิจัย เรื่อง อนุกรมวิธานและการแพร่กระจายของหอยวงศ์ Thiaridae: สกุล Tarebia H.&A. Adams, 1854, Sermyla H.&A. Adams, 1854 และ Neoradina Brandt, 1974 เป้าหมายเพื่อการตรวจทานชนิดพันธุ์ของประเทศไทยโดยเทคนิคทางชีวโมเลกุล. 159 หน้า.
2. ดวงเดือน ไกรลาศ, และนวลพรรณ วีระเวชสุกิจ. (2561). โครงการวิจัย เรื่อง วิวัฒนาการสายพันธุ์และการแพร่กระจายตามเขตภูมิศาสตร์ของหอยน้ำจืดสกุล Tarebia H.&A. Adams, 1854 (Gastropoda: Thiaridae) ในประเทศไทย. 56 หน้า.
3. สุลักษณ์ นามโชติ, ดวงเดือน ไกรลาศ, และลัดดาวัลย์ ปั้นเพ็ง. (2561). โครงการวิจัย เรื่องการตรวจทานชนิดพันธุ์ของหอยสกุล Sermyla H.&A. Adams, 1854 (Gastropoda: Thiaridae) ในประเทศไทย: พิสูจน์หลักฐานทางเทคนิคชีวโมเลกุล. 56 หน้า.
4. สุลักษณ์ นามโชติ, ดวงเดือน ไกรลาศ, ณัฐพร อยู่เต็มสุข, และณัฐฑริกา บัวสุวรรณ. (2560). โครงการวิจัย เรื่อง ความหลากหลายชนิดพันธุ์และการติดเชื้อพยาธิใบไม้ของหอยน้ำจืดสกุล Clea Adams, 1855 บริเวณภาคใต้ของประเทศไทย. 43 หน้า.
5. ดวงเดือน ไกรลาศ, สุลักษณ์ นามโชติ, และวิวิชชุตา เดชรักษา. (2559). ชุดโครงการวิจัย เรื่อง อนุกรมวิธานและการแพร่กระจายของหอยวงศ์ Thiaridae: ให้ความสำคัญที่หอยสกุล Tarebia H.&A. Adams, 1854, Sermyla H.&A. Adams, 1854 และ Neoradina Brandt, 1974 เป้าหมายเพื่อการตรวจทานชนิดพันธุ์ของประเทศไทย. 250 หน้า.
6. ดวงเดือน ไกรลาศ, สุพรรณญิกา เส็งสาย, และนวลพรรณ วีระเวชสุกิจ. (2559). โครงการวิจัย เรื่อง อนุกรมวิธานและการแพร่กระจายตามเขตภูมิศาสตร์ของหอยน้ำจืดสกุล Tarebia H.&A. Adams, 1854 (Gastropoda: Thiaridae) ในประเทศไทย. 127 หน้า.
7. สุลักษณ์ นามโชติ, ดวงเดือน ไกรลาศ, และดุสิต บุญมีก่ำ. (2559). โครงการวิจัย เรื่อง การตรวจทานชนิดพันธุ์ของหอยสกุล Sermyla H.&A. Adams, 1854 (Gastropoda: Thiaridae) ในประเทศไทย: พิสูจน์จากสัณฐานวิทยาของเปลือกและการพัฒนาตัวอ่อน. 64 หน้า.
8. ดวงเดือน ไกรลาศ, สุลักษณ์ นามโชติ, และวิวิชชุตา เดชรักษา. (2559). ชุดโครงการวิจัย เรื่อง อนุกรมวิธานและนิเวศวิทยาของหอยที่เป็นโฮสต์กึ่งกลางของพยาธิใบไม้วงศ์ Thiaridae และ Pachychilidae: ให้ความสำคัญที่หอยสกุล Thiara Röding, 1798, Melanoides Olivire, 1840 และ Brotia Adams, 1866 เป้าหมายเพื่อการตรวจทานชนิดพันธุ์ของประเทศไทย. 225 หน้า.
9. ดวงเดือน ไกรลาศ, และดุสิต บุญมีก่ำ. (2559). โครงการวิจัย เรื่อง ความหลากหลายชนิดพันธุ์และสายวิวัฒนาการของหอยน้ำจืดสกุล Thiara Röding, 1798 (Gastropoda: Thiaridae) ในประเทศไทย. 42 หน้า.
10. สุลักษณ์ นามโชติ, ดวงเดือน ไกรลาศ, ชตพรรษ ชวนประสิทธิ์, สุภัทรตา ศรีทองแท้, ภาพร วงเวียน, ภินันท์รักข์ ประทุมศรีขจร, วิภาวิน แซ่โก, หทัยทิพย์ สัจจาวงศ์วาณิชย์, และสุวิมล ผ่องภักดี. (2559). โครงการวิจัย เรื่อง สัณฐานวิทยาของเปลือก, การพัฒนาตัวอ่อน และพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุลของหอยน้ำจืดสกุล Brotia Adams, 1866 (Cerithioidea, Pachychilidae) ในประเทศไทย: เพื่อตรวจทานความหลากชนิดพันธุ์ และความเป็นโฮสต์กึ่งกลางของพยาธิใบไม้. 88 หน้า.
11. สุลักษณ์ นามโชติ, ดวงเดือน ไกรลาศ, ภาพร วงศ์เวียน, และกานดา วีระเวชกุกิจ. (2558). โครงการวิจัย เรื่อง ตัวอ่อนระยะเซอร์คาเรียของพยาธิใบไม้ที่พบจากหอยน้ำกร่อยบริเวณอ่าวไทย. 72 หน้า.
12. วิวิชชุตา เดชรักษา, ดวงเดือน ไกรลาศ, สุภัทรตา ศรีทองแท้, และศิริพร บุตร์นิล. (2558). โครงการวิจัย เรื่อง การกระจายพันธุ์และความสัมพันธ์กับถิ่นที่อยู่อาศัยของหอยน้ำกร่อยในบริเวณอ่าวไทย. 97 หน้า.
ผลงานวิจัยตีพิมพ์
1. Boonmekam, D., Krailas, D., Gimnich, F., Neiber, M.T., & Glaubrecht, M. (2019). A glimpse in the dark? A first phylogenetic approach in a widespread freshwater snail from tropical Asia and northern Australia (Cerithioidea, Thiaridae). Zoosystematics and Evolution, 95(2), 373-390. (Scopus, ISI, SJR, Q2)
2. Wiggering, B., Neiber, M.T., Krailas, D., & Glaubrecht, M. (2019). Biological diversity or nomenclatural multiplicity: the Thai freshwater snail Neoradina prasongi Brandt, 1974 (Gastropoda: Thiaridae). Systematics and Biodiversity, 17(3), 260-276. (Scopus, ISI, SJR, Q1)
3. Veeravechsukij, N., Namchote,S., Neiber, M.T., Glaubrecht, M., & Krailas, D. (2018). Exploring the evolutionary potential of parasites: Larval stages of pathogen digenic trematodes in their limnic thiarid host Tarebia granifera in Thailand. Zoosystematics and Evolution, 94(2), 425-460. (Scopus, ISI, SJR, Q2)
4. Veeravechsukij, N., Krailas, D., Namchote,S., Wiggering, B., Neiber, M.T., & Glaubrecht, M. (2018). Molecular phylogeography and reproductive biology of the freshwater snail Tarebia granifera in Thailand. Zoosystematics and Evolution, 94(2), 461-493. (Scopus, ISI, SJR, Q2)
5. Pratumsrikajorn, P., Namchote, S., Boonmekam, D., Koonchornboon, T., Glaubrecht, M., & Krailas D. (2017). Cercarial infections of freshwater snail genus Brotia in Thailand. Silpakorn University Science and Technology Journal, 11(2), 9-15. (TCI กลุ่มที่ 1)
6. Boonmekam, D., Namchote, S., Matsuda, H., Kirinoki, M., Miyamoto, K., Sinuon, M., & Krailas, D. (2017). Morphological and molecular identification of the liver fluke Opisthorchis viverrini in the first intermediate host Bithynia snail and its prevalence in Kampong Cham Province, Cambodia. Parasitology International, 66, 319-323. (Scopus, ISI, SJR, Q2)
7. Dechruksa, W., Glaubrecht, M., & Krailas, D. (2017). Natural Trematode Infections of freshwater Snail Melanoides jugicostis Hanley & Theobald, 1876 (Family Thiaridae), the First Intermediate Host of Animal and Human Parasites in Thailand. Silpakorn University Science and Technology Journal, 10(4), 9-16. (TCI กลุ่มที่ 1)
8. Yutemsuk, N., Krailas, D., Anancharoenkit, C., Phanpeng, L., & Dechruksa, W. (2017). Trematode infections of freshwater snails genus Clea A. Adams, 1855 in The Reservoir of Lower Northeast Thailand.. In Proceedings of the Joint International Tropical Medicine Meeting 2017.
9. Phanpeng, L., Dechruksa, W., Krailas, D., Boonmekam, D., &Namchote, S. (2017). Cercarial infections, Stellantchasmus falcatus (Trematode: Heterophyidae) of snails Sermyla riqueti in Cholburi and Rayong Provinces, Thailand. In Proceedings of the 10th Silpakorn University Conference on Academic Research and Creative Arts: Integration of Art and Science (pp. 64-71).
10. Krailas, D., Veeravechsukij, W., Chuanprasit, C., Boonmekam, D., & Namchote, S. (2016). Prevalence of fish-borne trematodes of the family Heterophyidae at Pasak Cholasid Reservoir, Thailand. Acta tropica, 156, 79-86.
11. Namchote, S., Sritongtae, S., Butnin, S., Wongwain, P., & Krailas, D. (2015). Larval stage of trematodes obtained from brackish water snails in the central and east coast of the gulf of Thailand. Scientific Research and Essays, 10(11), 386-401.
12. Veeravechsukij, N., Krailas, D., Boonmekam, D., & Namchote, S. (2015). Metacercariae Infections of Freshwater Fish from Three Provinces in Cambodia. In The 5th International Graduate Study Conference 2015 “Creative Education: Intellectual Capital toward ASEAN” IGSC Thailand (pp. 489-496).
13. Krailas D, & Butnin, S. (2015). Species diversity of gastropods at estuary in Phangnga, Krabi and Trang Provinces of Thailand. In The 7th Silpakorn University International conference on Academic Research and Creative Arts: Integration of Art and Science (pp. 199-200).
14. Krailas D., & Sritongtae S. (2015). Species Diversity of Brackish Water Snails in Eastern Area of Thailand. 2015. The 7th Silpakorn University International conference on Academic Research and Creative Arts: Integration of Art and Science (pp. 201-202).
15. Namchote. S., Sritongtae S., Butnin S., Wongwain P., & Krailas D. (2015). Larval stage of trematodes obtain from brackish water snails in the central and east coast of the gulf of Thailand. Tokyo International Conference on Life Science and Biological Engineering. Conference Proceedings December 2014 (pp. 923-930). Tokyo, Japan.
16. Sritongtae S., Namchote S., Krailas D., Boonmekam D., & Koonchornboon T. (2015). Cercarial infections of brackish water snails on the east coast of southern Thailand. Joint International Tropical Medicine Meeting 2015. 3(4), 1-15.
1. ดวงเดือน ไกรลาศ, สุลักษณ์ นามโชติ, และวิวิชชุตา เดชรักษา. (2561). ชุดโครงการวิจัย เรื่อง อนุกรมวิธานและการแพร่กระจายของหอยวงศ์ Thiaridae: สกุล Tarebia H.&A. Adams, 1854, Sermyla H.&A. Adams, 1854 และ Neoradina Brandt, 1974 เป้าหมายเพื่อการตรวจทานชนิดพันธุ์ของประเทศไทยโดยเทคนิคทางชีวโมเลกุล. 159 หน้า.
2. ดวงเดือน ไกรลาศ, และนวลพรรณ วีระเวชสุกิจ. (2561). โครงการวิจัย เรื่อง วิวัฒนาการสายพันธุ์และการแพร่กระจายตามเขตภูมิศาสตร์ของหอยน้ำจืดสกุล Tarebia H.&A. Adams, 1854 (Gastropoda: Thiaridae) ในประเทศไทย. 56 หน้า.
3. สุลักษณ์ นามโชติ, ดวงเดือน ไกรลาศ, และลัดดาวัลย์ ปั้นเพ็ง. (2561). โครงการวิจัย เรื่องการตรวจทานชนิดพันธุ์ของหอยสกุล Sermyla H.&A. Adams, 1854 (Gastropoda: Thiaridae) ในประเทศไทย: พิสูจน์หลักฐานทางเทคนิคชีวโมเลกุล. 56 หน้า.
4. สุลักษณ์ นามโชติ, ดวงเดือน ไกรลาศ, ณัฐพร อยู่เต็มสุข, และณัฐฑริกา บัวสุวรรณ. (2560). โครงการวิจัย เรื่อง ความหลากหลายชนิดพันธุ์และการติดเชื้อพยาธิใบไม้ของหอยน้ำจืดสกุล Clea Adams, 1855 บริเวณภาคใต้ของประเทศไทย. 43 หน้า.
5. ดวงเดือน ไกรลาศ, สุลักษณ์ นามโชติ, และวิวิชชุตา เดชรักษา. (2559). ชุดโครงการวิจัย เรื่อง อนุกรมวิธานและการแพร่กระจายของหอยวงศ์ Thiaridae: ให้ความสำคัญที่หอยสกุล Tarebia H.&A. Adams, 1854, Sermyla H.&A. Adams, 1854 และ Neoradina Brandt, 1974 เป้าหมายเพื่อการตรวจทานชนิดพันธุ์ของประเทศไทย. 250 หน้า.
6. ดวงเดือน ไกรลาศ, สุพรรณญิกา เส็งสาย, และนวลพรรณ วีระเวชสุกิจ. (2559). โครงการวิจัย เรื่อง อนุกรมวิธานและการแพร่กระจายตามเขตภูมิศาสตร์ของหอยน้ำจืดสกุล Tarebia H.&A. Adams, 1854 (Gastropoda: Thiaridae) ในประเทศไทย. 127 หน้า.
7. สุลักษณ์ นามโชติ, ดวงเดือน ไกรลาศ, และดุสิต บุญมีก่ำ. (2559). โครงการวิจัย เรื่อง การตรวจทานชนิดพันธุ์ของหอยสกุล Sermyla H.&A. Adams, 1854 (Gastropoda: Thiaridae) ในประเทศไทย: พิสูจน์จากสัณฐานวิทยาของเปลือกและการพัฒนาตัวอ่อน. 64 หน้า.
8. ดวงเดือน ไกรลาศ, สุลักษณ์ นามโชติ, และวิวิชชุตา เดชรักษา. (2559). ชุดโครงการวิจัย เรื่อง อนุกรมวิธานและนิเวศวิทยาของหอยที่เป็นโฮสต์กึ่งกลางของพยาธิใบไม้วงศ์ Thiaridae และ Pachychilidae: ให้ความสำคัญที่หอยสกุล Thiara Röding, 1798, Melanoides Olivire, 1840 และ Brotia Adams, 1866 เป้าหมายเพื่อการตรวจทานชนิดพันธุ์ของประเทศไทย. 225 หน้า.
9. ดวงเดือน ไกรลาศ, และดุสิต บุญมีก่ำ. (2559). โครงการวิจัย เรื่อง ความหลากหลายชนิดพันธุ์และสายวิวัฒนาการของหอยน้ำจืดสกุล Thiara Röding, 1798 (Gastropoda: Thiaridae) ในประเทศไทย. 42 หน้า.
10. สุลักษณ์ นามโชติ, ดวงเดือน ไกรลาศ, ชตพรรษ ชวนประสิทธิ์, สุภัทรตา ศรีทองแท้, ภาพร วงเวียน, ภินันท์รักข์ ประทุมศรีขจร, วิภาวิน แซ่โก, หทัยทิพย์ สัจจาวงศ์วาณิชย์, และสุวิมล ผ่องภักดี. (2559). โครงการวิจัย เรื่อง สัณฐานวิทยาของเปลือก, การพัฒนาตัวอ่อน และพันธุศาสตร์ระดับโมเลกุลของหอยน้ำจืดสกุล Brotia Adams, 1866 (Cerithioidea, Pachychilidae) ในประเทศไทย: เพื่อตรวจทานความหลากชนิดพันธุ์ และความเป็นโฮสต์กึ่งกลางของพยาธิใบไม้. 88 หน้า.
11. สุลักษณ์ นามโชติ, ดวงเดือน ไกรลาศ, ภาพร วงศ์เวียน, และกานดา วีระเวชกุกิจ. (2558). โครงการวิจัย เรื่อง ตัวอ่อนระยะเซอร์คาเรียของพยาธิใบไม้ที่พบจากหอยน้ำกร่อยบริเวณอ่าวไทย. 72 หน้า.
12. วิวิชชุตา เดชรักษา, ดวงเดือน ไกรลาศ, สุภัทรตา ศรีทองแท้, และศิริพร บุตร์นิล. (2558). โครงการวิจัย เรื่อง การกระจายพันธุ์และความสัมพันธ์กับถิ่นที่อยู่อาศัยของหอยน้ำกร่อยในบริเวณอ่าวไทย. 97 หน้า.
ผลงานวิจัยตีพิมพ์
1. Boonmekam, D., Krailas, D., Gimnich, F., Neiber, M.T., & Glaubrecht, M. (2019). A glimpse in the dark? A first phylogenetic approach in a widespread freshwater snail from tropical Asia and northern Australia (Cerithioidea, Thiaridae). Zoosystematics and Evolution, 95(2), 373-390. (Scopus, ISI, SJR, Q2)
2. Wiggering, B., Neiber, M.T., Krailas, D., & Glaubrecht, M. (2019). Biological diversity or nomenclatural multiplicity: the Thai freshwater snail Neoradina prasongi Brandt, 1974 (Gastropoda: Thiaridae). Systematics and Biodiversity, 17(3), 260-276. (Scopus, ISI, SJR, Q1)
3. Veeravechsukij, N., Namchote,S., Neiber, M.T., Glaubrecht, M., & Krailas, D. (2018). Exploring the evolutionary potential of parasites: Larval stages of pathogen digenic trematodes in their limnic thiarid host Tarebia granifera in Thailand. Zoosystematics and Evolution, 94(2), 425-460. (Scopus, ISI, SJR, Q2)
4. Veeravechsukij, N., Krailas, D., Namchote,S., Wiggering, B., Neiber, M.T., & Glaubrecht, M. (2018). Molecular phylogeography and reproductive biology of the freshwater snail Tarebia granifera in Thailand. Zoosystematics and Evolution, 94(2), 461-493. (Scopus, ISI, SJR, Q2)
5. Pratumsrikajorn, P., Namchote, S., Boonmekam, D., Koonchornboon, T., Glaubrecht, M., & Krailas D. (2017). Cercarial infections of freshwater snail genus Brotia in Thailand. Silpakorn University Science and Technology Journal, 11(2), 9-15. (TCI กลุ่มที่ 1)
6. Boonmekam, D., Namchote, S., Matsuda, H., Kirinoki, M., Miyamoto, K., Sinuon, M., & Krailas, D. (2017). Morphological and molecular identification of the liver fluke Opisthorchis viverrini in the first intermediate host Bithynia snail and its prevalence in Kampong Cham Province, Cambodia. Parasitology International, 66, 319-323. (Scopus, ISI, SJR, Q2)
7. Dechruksa, W., Glaubrecht, M., & Krailas, D. (2017). Natural Trematode Infections of freshwater Snail Melanoides jugicostis Hanley & Theobald, 1876 (Family Thiaridae), the First Intermediate Host of Animal and Human Parasites in Thailand. Silpakorn University Science and Technology Journal, 10(4), 9-16. (TCI กลุ่มที่ 1)
8. Yutemsuk, N., Krailas, D., Anancharoenkit, C., Phanpeng, L., & Dechruksa, W. (2017). Trematode infections of freshwater snails genus Clea A. Adams, 1855 in The Reservoir of Lower Northeast Thailand.. In Proceedings of the Joint International Tropical Medicine Meeting 2017.
9. Phanpeng, L., Dechruksa, W., Krailas, D., Boonmekam, D., &Namchote, S. (2017). Cercarial infections, Stellantchasmus falcatus (Trematode: Heterophyidae) of snails Sermyla riqueti in Cholburi and Rayong Provinces, Thailand. In Proceedings of the 10th Silpakorn University Conference on Academic Research and Creative Arts: Integration of Art and Science (pp. 64-71).
10. Krailas, D., Veeravechsukij, W., Chuanprasit, C., Boonmekam, D., & Namchote, S. (2016). Prevalence of fish-borne trematodes of the family Heterophyidae at Pasak Cholasid Reservoir, Thailand. Acta tropica, 156, 79-86.
11. Namchote, S., Sritongtae, S., Butnin, S., Wongwain, P., & Krailas, D. (2015). Larval stage of trematodes obtained from brackish water snails in the central and east coast of the gulf of Thailand. Scientific Research and Essays, 10(11), 386-401.
12. Veeravechsukij, N., Krailas, D., Boonmekam, D., & Namchote, S. (2015). Metacercariae Infections of Freshwater Fish from Three Provinces in Cambodia. In The 5th International Graduate Study Conference 2015 “Creative Education: Intellectual Capital toward ASEAN” IGSC Thailand (pp. 489-496).
13. Krailas D, & Butnin, S. (2015). Species diversity of gastropods at estuary in Phangnga, Krabi and Trang Provinces of Thailand. In The 7th Silpakorn University International conference on Academic Research and Creative Arts: Integration of Art and Science (pp. 199-200).
14. Krailas D., & Sritongtae S. (2015). Species Diversity of Brackish Water Snails in Eastern Area of Thailand. 2015. The 7th Silpakorn University International conference on Academic Research and Creative Arts: Integration of Art and Science (pp. 201-202).
15. Namchote. S., Sritongtae S., Butnin S., Wongwain P., & Krailas D. (2015). Larval stage of trematodes obtain from brackish water snails in the central and east coast of the gulf of Thailand. Tokyo International Conference on Life Science and Biological Engineering. Conference Proceedings December 2014 (pp. 923-930). Tokyo, Japan.
16. Sritongtae S., Namchote S., Krailas D., Boonmekam D., & Koonchornboon T. (2015). Cercarial infections of brackish water snails on the east coast of southern Thailand. Joint International Tropical Medicine Meeting 2015. 3(4), 1-15.