ผศ. ดร.ปรารถนา เผือกวิไล
Assist. Prof. Dr. Prattana Phuekvilai
ติดต่อ
207242
phuekvilai_p@su.ac.th
1308 อาคารวิทยาศาสตร์ 1 ชั้น 3
การศึกษา
ปริญญาเอก
PhD. (Biology) Newcastle University, UK (2557)
ปริญญาโท
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (พันธุศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2550)
ปริญญาตรี
วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2547) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง
สาขาที่เชี่ยวชาญ
- Molecular markers for the assessment of genetic variation in plant
- Population genetics and molecular evolution in plants
- Plant molecular genetics
- การปลูกพืชแบบไร้ดิน
- Population genetics and molecular evolution in plants
- Plant molecular genetics
- การปลูกพืชแบบไร้ดิน
งานวิจัย
1.การใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ (DNA markers)/ ลายพิมพ์ดีเอ็นเอ (DNA fingerprint) ในการจัดจำแนกและระบุชนิดพันธุ์พืช, วิเคราะห์การกลายพันธุ์ในพืช รวมถึงศึกษาความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืช เช่น ไผ่ อินทผลัม และเผือก
2.การใช้ปุ๋ยหมักกับระบบไฮโดรโพนิกส์เพื่อลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร
3.หัวข้องานวิจัยอื่นทางด้านพันธุศาสตร์ ที่นักศึกษาสนใจและมีความเป็นไปได้ในการทำวิจัย
ทุนวิจัย
2565 ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) หัวข้อ "การสร้างลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อระบุพันธุ์ของอินทผลัมโดยใช้เครื่องหมายสก๊อต"
2563 ทุนสนับสนุนทุนนักวิจัยใหม่ (วท.) หัวข้อ “การสร้างลายพิมพ์ดีเอ็นเอของอินทผลัมด้วยเทคนิคแฮทอาร์เอพีดี”
2562 ทุนงบประมาณแผ่นดิน หัวข้อ “การประยุกต์ปุ๋ยหมักกับระบบไฮโดรโพนิกส์และการทดสอบภาคสนาม”
2562 ทุนงบประมาณแผ่นดิน หัวข้อ “การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอเพื่อการระบุชนิดพันธุ์ และตรวจสอบความคงตัวทางพันธุกรรมของไผ่ในสกุลเดนโดรคาลามัส (Dendrocalamus Nees)”
2559 ทุนอุดหนุนการวิจัยสำหรับอาจารย์หลังสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก จากกองทุนวิจัยและสร้างสรรค์คณะวิทยาศาสตร์ หัวข้อ “การศึกษาความผันแปรทางพันธุกรรมของเผือกโดยใช้เทคนิคอาร์เอพีดี”
2558 ทุนมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หัวข้อ“การสำรวจหาพืชไม้ล้มลุกชนิดเด่นที่มีศักยภาพดูดซับโลหะหนักได้มากในพื้นที่รอบเหมืองแร่ทองคำ จังหวัดพิจิตร กระบวนการสร้างการเรียนรู้และแก้ไขปัญหา แบบมีส่วนร่วมกับชุมชนที่ได้รับผลกระทบ”
2.การใช้ปุ๋ยหมักกับระบบไฮโดรโพนิกส์เพื่อลดการใช้สารเคมีทางการเกษตร
3.หัวข้องานวิจัยอื่นทางด้านพันธุศาสตร์ ที่นักศึกษาสนใจและมีความเป็นไปได้ในการทำวิจัย
ทุนวิจัย
2565 ทุนอุดหนุนการวิจัยจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) หัวข้อ "การสร้างลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อระบุพันธุ์ของอินทผลัมโดยใช้เครื่องหมายสก๊อต"
2563 ทุนสนับสนุนทุนนักวิจัยใหม่ (วท.) หัวข้อ “การสร้างลายพิมพ์ดีเอ็นเอของอินทผลัมด้วยเทคนิคแฮทอาร์เอพีดี”
2562 ทุนงบประมาณแผ่นดิน หัวข้อ “การประยุกต์ปุ๋ยหมักกับระบบไฮโดรโพนิกส์และการทดสอบภาคสนาม”
2562 ทุนงบประมาณแผ่นดิน หัวข้อ “การพัฒนาเครื่องหมายดีเอ็นเอเพื่อการระบุชนิดพันธุ์ และตรวจสอบความคงตัวทางพันธุกรรมของไผ่ในสกุลเดนโดรคาลามัส (Dendrocalamus Nees)”
2559 ทุนอุดหนุนการวิจัยสำหรับอาจารย์หลังสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอก จากกองทุนวิจัยและสร้างสรรค์คณะวิทยาศาสตร์ หัวข้อ “การศึกษาความผันแปรทางพันธุกรรมของเผือกโดยใช้เทคนิคอาร์เอพีดี”
2558 ทุนมูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) หัวข้อ“การสำรวจหาพืชไม้ล้มลุกชนิดเด่นที่มีศักยภาพดูดซับโลหะหนักได้มากในพื้นที่รอบเหมืองแร่ทองคำ จังหวัดพิจิตร กระบวนการสร้างการเรียนรู้และแก้ไขปัญหา แบบมีส่วนร่วมกับชุมชนที่ได้รับผลกระทบ”
ผลงานตีพิมพ์
ผลงานวิจัยตีพิมพ์
1. ปรารถนา เผือกวิไล, ยศเวท สิริจามร, และณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว. (2561). การสะสมสารหนูของพืชล้มลุกชนิดเด่นที่พบในบริเวณเหมืองแร่ทองคำ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 26(6), 953-967. (TCI กลุ่มที่ 1)
2. ยศเวท สิริจามร, ปรารถนา เผือกวิไล, และณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว. (2560). ศักยภาพในการดูดซับและสะสมโลหะหนักของพืชล้มลุกชนิดเด่นบริเวณพื้นที่รอบเหมืองแร่ทองคำ จังหวัดพิจิตร. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 25(1), 110-123. (TCI กลุ่มที่ 1)
3. Logan, S.A., Phuekvilai, P., Sanderson, R., & Wolff, K. (2019). Reproductive and population genetic characteristics of leading-edge and central populations of two temperate forest tree species and implications for range expansion. Forest Ecology and Management, 433, 475-486. (ISI)
4. Logan, S. A., Phuekvilai, P., & Wolff, K. (2015). Ancient woodlands in the limelight: delineation and genetic structure of ancient woodland species Tilia cordata and Tilia platyphyllos (Tiliaceae) in the UK. Tree Genetics and Genomes, 11, 52.
1. ปรารถนา เผือกวิไล, ยศเวท สิริจามร, และณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว. (2561). การสะสมสารหนูของพืชล้มลุกชนิดเด่นที่พบในบริเวณเหมืองแร่ทองคำ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 26(6), 953-967. (TCI กลุ่มที่ 1)
2. ยศเวท สิริจามร, ปรารถนา เผือกวิไล, และณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว. (2560). ศักยภาพในการดูดซับและสะสมโลหะหนักของพืชล้มลุกชนิดเด่นบริเวณพื้นที่รอบเหมืองแร่ทองคำ จังหวัดพิจิตร. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 25(1), 110-123. (TCI กลุ่มที่ 1)
3. Logan, S.A., Phuekvilai, P., Sanderson, R., & Wolff, K. (2019). Reproductive and population genetic characteristics of leading-edge and central populations of two temperate forest tree species and implications for range expansion. Forest Ecology and Management, 433, 475-486. (ISI)
4. Logan, S. A., Phuekvilai, P., & Wolff, K. (2015). Ancient woodlands in the limelight: delineation and genetic structure of ancient woodland species Tilia cordata and Tilia platyphyllos (Tiliaceae) in the UK. Tree Genetics and Genomes, 11, 52.