ผศ. ดร.ณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว

ผศ. ดร.ณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว

Assist. Prof. Dr. Nimnara Yookongkaew

ติดต่อ

207241
1309 อาคารวิทยาศาสตร์ 1 ชั้น 3

การศึกษา

ปริญญาเอก

PhD (Plant Molecular Biology), Purdue University, USA (2556)

ปริญญาโท

M.Sc. (Biotechnology), Mahidol University, Thailand (2004)

ปริญญาตรี

B.Sc. (Biotechnology, First Class Honors), Prince of Songkla University, Thailand (2001) with Certificate of Academic Excellence from the Professor Dr. Tab Nilanidhi Foundation for outstanding B.Sc. (Biotechnology) student

สาขาที่เชี่ยวชาญ

- Plant nutrition and plant mineral homeostasis
- Plant soiless culture
- Plant physiology and molecular genetics
- Plant biotechnology and genetic engineering
การรักษาสมดุลธาตุอาหารในพืช, การพัฒนาระบบการปลูกพืชแบบไร้ดิน, สรีรวิทยาพืช, พันธุศาสตร์โมเลกุล, เทคโนโลยีชีวภาพและพันธุวิศวกรรม

งานวิจัย

- กลไกการลำเลียงธาตุอาหารหลักและจุลธาตุในมันสำปะหลังในระดับพันธุศาสตร์โมเลกุลและสรีรวิทยา
- การพัฒนาระบบการปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์ในวิถีเกษตรอินทรีย์
- การตรวจสอบสายพันธุ์ไผ่ด้วยเทคนิคทางพันธุศาสตร์โมเลกุล
- การสะสมธาตุซิลิคอนในไผ่สายพันธุ์ไทยและการประยุกต์ใช้

ทุนวิจัย

2019 Government Budget Grant
“Compost application on hydroponic system and field trial”

2019 Government Budget Grant
“Determination of clonal fidelity in micropropagated “Pai Sang Mon (Dendrocalamus sericeus Munro) plantlets using DNA markers”

2018-2019 Research Grant for New Scholar, Faculty of Science, Silpakorn University
“Accumulation of mineral nutrients and expression of mineral nutrient transporter genes in shoot tissues of cassava plants”

2017-2018 Research Grant for New Scholar, Ministry of Science and Technology
“Expression on mineral transporter genes and mineral accumulation patterns during storage root development in cassava”

2016 มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ (มสช.) หัวข้อ“การสำรวจหาพืชไม้ล้มลุกชนิดเด่นที่มีศักยภาพดูดซับโลหะหนักได้มากในพื้นที่รอบเหมืองแร่ทองคำ จังหวัดพิจิตร กระบวนการสร้างการเรียนรู้และแก้ไขปัญหา แบบมีส่วนร่วมกับชุมชนที่ได้รับผลกระทบ”

2015-2016 Research Grant for New Scholar, Faculty of Science, Silpakorn University
“Transcriptional analysis of genes involved in carotenoid biosynthesis pathway in thermotolerant microalgae cultured under stress conditions”

ผลงานตีพิมพ์

ผลงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
1. ณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว. (2562). การสะสมธาตุอาหารและการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงธาตุอาหารในเนื้อเยื้อส่วนเหนือดินของมันสำปะหลัง. นครปฐม, กองทุนวิจัยและสร้างสรรค์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 60 หน้า.
2. ณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว. (2560). การวิเคราะห์ระดับการแสดงออกของยีนในวิถีการสังเคราะห์แคโรทีนอยด์ในสาหร่ายทนร้อนที่เพาะเลี้ยงภายใต้สภาวะเครียด. นครปฐม, กองทุนวิจัยและสร้างสรรค์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 55 หน้า.
3. ณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว, ยศเวท สิริจามร, และ ปรารถนา เผือกวิไล. (2558). การสำรวจหาพืชไม้ล้มลุกชนิดเด่นที่มีศักยภาพดูดซับโลหะหนักได้มากในพื้นที่เหมืองแร่ทองคำ จังหวัดพิจิตร กระบวนการสร้างการเรียนรู้และแก้ไขปัญหาแบบมีส่วนร่วมกับชุมชนที่ได้รับผลกระทบ. นครปฐม, มูลนิธิสาธารณสุขแห่งชาติ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. 54 หน้า.

ผลงานวิจัยตีพิมพ์
1. ปรารถนา เผือกวิไล, ยศเวท สิริจามร, และ ณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว. (2561). การสะสมสารหนูของพืชล้มลุกชนิดเด่นที่พบในบริเวณเหมืองแร่ทองคำ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 26(6), 953-967. (TCI กลุ่มที่ 1)
2. ณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว, ปรียานุช เจริญสุข, ปีลดา เชิดชูเกียรติศักดิ์, และธัญนันท์ วรรณธง บรอคเคิลเฮอร์สท์. (2560). “มวลชีวภาพและการสะสมแคโรทีนอยด์ในสาหร่ายสีเขียวขนาดเล็ก สายพันธุ์ PY202 ภายใต้สภาวะมิกโซโทรฟิก”. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 25(4), 579-590. (TCI กลุ่มที่ 1)
3. ยศเวท สิริจามร, ปรารถนา เผือกวิไล, และ ณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว. (2560). ศักยภาพในการดูดซับและสะสมโลหะหนักของพืชล้มลุกชนิดเด่นบริเวณพื้นที่รอบเหมืองแร่ทองคำ จังหวัดพิจิตร. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 25(1), 110-123. (TCI กลุ่มที่ 1)
4. Hanmeng, O., Chailek, N., Charoenpanich, A., Phuekvilai, P., Yookongkaew, N., Sanmanee, N., Sirirak, J., Swanglap, P., Wanichacheva, N. (2020). Cu2+-selective NIR fluorescence sensor based on heptamethine cyanine in aqueous media and its application., Spectrochimica Acta Part A: Molecular and Biomolecular Spectroscopy, 240, DOI:10.1016/j.saa.2020.118606. (Scopus)