ผศ. ดร.ยศเวท สิริจามร

ผศ. ดร.ยศเวท สิริจามร

Asst. Prof. Dr. Yotsawate Sirichamorn

ติดต่อ

207285
1609 อาคารวิทยาศาสตร์ 1 ชั้น 6

การศึกษา

ปริญญาเอก

PhD (Plant Systematics & Biogeography) Leiden University, the Netherlands (2556)

ปริญญาโท

วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (พฤกษศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2550)

ปริญญาตรี

วิทยาศาสตรบัณฑิต (พฤกษศาสตร์) (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2547)

สาขาที่เชี่ยวชาญ

-Morphological and Molecular Systematics of legumes, pteridophytes and orchids
-Plant Anatomy
-Plant Biogeography
-Palynology

งานวิจัย

1.การศึกษาด้าน มหสัณฐานวิทยา (Macro-morphology หรือสัณฐานวิทยาที่เห็นภายนอกด้วยตาเปล่า) และอณูสัณฐานวิทยา (Micro-morphology หรือสัณฐานวิทยาภายใต้กล้องจุลทรรศน์) รวมถึงกายวิภาค (Anatomy) เพื่อแก้ปัญหาพืชในกลุ่มที่มีปัญหาทางอนุกรมวิธาน หรือการพิสูจน์สถานะภาพทางอนุกรมวิธานของพืช
2.การศึกษาสายวิวัฒนาการ (phylogeny) โดยใช้ข้อมูลเชิงอณูชีววิทยา เช่น ลำดับนิวคลีโอไทด์ของ markers ที่มีความเหมาะสม
3.งานเชิงสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในพื้นที่ที่มีความน่าสนใจ หรือยังไม่มีการสำรวจและศึกษามาก่อน (เน้นที่พืชในวงศ์ถั่ว)
4.ชีววิทยาการถ่ายละอองเรณู (Pollination Biology) ในพืชบางชนิดที่หายาก หรือมีปัญหาในการติดผล
5.การศึกษาลักษณะทางกายวิภาคพืช เพื่อตีความถึงสรีระวิทยา และการปรับตัวของพืชในสิ่งแวดล้อม / สิ่งเร้าประเภทต่าง ๆ รวมถึงการนำมาใช้ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ (เช่น ปริมาณเส้นใยในพืช)
6.งานพฤกษศาสตร์พื้นบ้าน สำรวจการใช้ประโยชน์ของพืชในด้านต่าง ๆ ของคนในชุมชนต่าง ๆ

ผลงานตีพิมพ์

ผลงานวิจัยตีพิมพ์
1. ปรารถนา เผือกวิไล, ยศเวท สิริจามร, และณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว. (2561). การสะสมสารหนูของพืชล้มลุกชนิดเด่นที่พบในบริเวณเหมืองแร่ทองคำ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 26(6), 953-967. (TCI กลุ่มที่ 1)
2. ยศเวท สิริจามร, ปรารถนา เผือกวิไล, และณิมนาราห์ อยู่คงแก้ว. (2560). ศักยภาพในการดูดซับและสะสมโลหะหนักของพืชล้มลุกชนิดเด่น บริเวณพื้นที่รอบเหมืองแร่ทองคำ จังหวัดพิจิตร. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 25(1), 110-123. (TCI กลุ่มที่ 1)
3. Sirichamorn, Y. and Adema, F. 2020. Four new combinations in the legume genus Brachypterum. Thai Forest Bulletin, Botany 48(1): 57–60. (Scopus)
4. Aneklaphakij, C., Bunsupa, S., Sirichamorn, Y., Bongcheewin, B. and Satitpatipan, V. 2020. Taxonomic Notes on the ‘Mahat’ (Artocarpus lacucha and A. thailandicus, Moraceae) Species Complex in Thailand. Plants 9: 391. (Scopus)
5. Compton, J.A., Schrire, B.D., Könyves, K., Forest, F., Malakasi, P., Mattapha, S., & Sirichamorn, Y. (2019). The Callerya Group redefined and Tribe Wisterieae (Fabaceae) emended based on morphology and data from nuclear and chloroplast DNA sequences. PhytoKeys, 125, 1-112. (Scopus)
6. Adema, F., & Sirichamorn, Y. (2019). Notes on Malesian Fabaceae (Leguminosae-Papilionoideae) 20. The genus Brachypterum. Blumea, 64(3), 278-279. (ISI)
7. Sirichamorn, Y., Balslev, H., & Mattapha, S. (2016). Two new species of Callerya Endl. (Leguminosae: Papilionoideae) from Thailand. Phytotaxa, 26, 3(1), 42-50. (ISI)